โครงการเสริมสร้างชุมชนบริหารจัดการตัวเองในพื้นที่ประสบพิบัติภัยสึนามิ
โครงการเสริมสร้างชุมชนบริหารจัดการตัวเองในพื้นที่ประสบพิบัติภัยสึนามิ
กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
เวทีนำเสนอรายงานความก้าวหน้าโครงการสร้างชุมชนบริหารจัดการตัวเองในพื้นที่ประสบพิบัติภัยสึนามิ ระยะที่ 1 ครั้งที่ 1
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

การจัดประชุมนำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ "สร้างชุมชนบริหารจัดการตัวเองในพื้นที่ประสบพิบัติภัยสึนามิระยะที่ 1" ครั้งที่ 1 วันศุกร์ที่ 4 มกราคม 2555 ณ ห้องประชุมสยามกัมมาจล 1 ชั้นที่ 22 ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

เป้าหมาย

1. เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานของโครงการ ในระยะ 6 เดือนแรก (1 มิถุนายน –30 พฤศจิกายน 25565) ต่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะและนำไปปรับปรุงการดำเนินงานในระยะต่อไปให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เกิดประโยชน์ตามเป้าหมายของโครงการในประเด็นดังต่อไปนี้
       • การออกแบบการบริหารจัดการโครงการฯ ของมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น

       • แนวคิด วิธีการดำเนินงาน และกระบวนการสนับสนุนชุมชน ของผู้ประสานงาน และพี่เลี้ยงระดับจังหวัด
       • การดำเนินโครงการระดับชุมชน (รายโครงการ)

2. เพื่อสรุปบทเรียนการดำเนินงานของแต่ละจังหวัด และเก็บเกี่ยวความรู้ / ผลสำเร็จ นำไปสู่การสื่อสารสร้างการรับรู้ - เรียนรู้ของสังคมต่อไป


ผู้เข้าร่วมการประชุม

1.

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช

ผู้ทรงคุณวุฒิ
2.

ศ.ดร.ปิยะวัติ บุญหลง

ผู้ทรงคุณวุฒิ
3.

อาจารย์ปาริชาติ วลัยเสถียร

ผู้ทรงคุณวุฒิ
4.

คุณสมพร ใช้บางยาง

ผู้ทรงคุณวุฒิ
5.

คุณปรีดา คงแป้น

ผู้ทรงคุณวุฒิ
6.คุณปิยาภรณ์ มัณฑะจิตรผู้ทรงคุณวุฒิ
7.คุณชีวัน  ขันธรรม 

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น

8.คุณรานี อุปรา 

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น

9.คุณมานพ  ช่วยอินทร์ 

ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดตรัง

10.คุณสุทิน  สีสุข 

พี่เลี้ยงจังหวัดตรัง

11.คุณสมพงษ์  หลีเคราะห์ 

ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดสตูล

12.คุณอารีย์  ติงหวัง 

ทีมชุมชนบ้านหลอมปืน จังหวัดสตูล

13.คุณณัฐกานต์  ไท้สุวรรณ 

ผู้ประสานงานโครงการ จังหวัดระนอง

14.คุณจริยา สาลี 

ทีมชุมชนบ้านกำพวน จังหวัดระนอง


ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. มูลนิธิฯ ได้รับรู้ความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ (แนวคิดและรูปแบบในการดำเนินโครงการของแต่ละจังหวัด ความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการในระยะ 6 เดือนแรก ได้แก่ พัฒนาโครงการชุมชน และผลที่เกิดขึ้น) สามารถนำไปวางแผนสนับสนุนโครงการ ให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนำ ความรู้ / ผลสำเร็จ จากโครงการ ไปสื่อสารสู่สังคมได้

2. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น และผู้ประสานงานจังหวัด ได้รับฟังข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์จากผู้ทรงคุณวุฒิ และนำไปปรับใช้ในการดำเนินงานโครงการในระยะต่อไปให้ดียิ่งขึ้น และเกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างแท้จริ

กำหนดการและรายงานผล
ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลกิจกรรม/บันทึกการทำงาน

­

"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ