โครงการฟื้นฟูพืชท้องถิ่นเพื่อเพิ่มศักยภาพของป่าไม้ในระบบนิเวศ
โครงการฟื้นฟูพืชท้องถิ่นเพื่อเพิ่มศักยภาพของป่าไม้ในระบบนิเวศ
กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
สรุปเรียนการทำโครงการฟื้นฟูพืชท้องถิ่นเพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบนิเวศป่า กลุ่มเมล็ดพันธุ์ใหม่ สานใจฟื้นฟูป่า
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

1. เพืื่อสรุปบทเรียนการทำโครงการ(กระบวนการทำงาน ความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค)

2. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำโครงการกับเพื่อนเยาวชนกลุ่มอื่นๆ

กำหนดการและรายงานผล
ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลกิจกรรม/บันทึกการทำงาน
จากกิจกรรมของกลุ่มเมล็ดพันธุ์ใหม่ สานใจฟื้นฟูป่า  ภายใต้โครงการฟื้นฟูพืชท้องถิ่นเพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบนิเวศ

กิจกรรม  สำรวจพันธ์ไม้/พันธุกรรมท้องถิ่น

เชิงปริมาณ  : มีเยาวชนในกลุ่มเมล็ดพันธุ์ใหม่ฯจำนวน  15  คนได้เรียนรู้เรื่องพันธุ์ไม้ท้องถิ่นในป่าชุมชน

เชิงคุณภาพ  : สมาชิกกลุ่มเมล็ดพันธุ์ใหม่ฯ มีความรู้เรื่องพันธุ์ไม้ท้องถิ่นพร้อมการใช้ประโยชน์และในส่วนพันธุ์ไม้ที่เป็นสมุนไพร ก็ได้รู้ว่ามีสรรพคุณทางยาอย่างไร

กิจกรรม  ขยายพันธุ์ไม้ท้องถิ่น/เรือนเพาะชำ


เชิงปริมาณ : มีพันธุ์ไม้ท้องถิ่นที่กลุ่มเยาวชนได้ขยายพันธุ์ไว้จำนวนอย่างน้อย  5  ชนิด

เชิงคุณภาพ  : เยาวชนได้เรียนรู้วิธีการเพาะกล้าไม้และได้เรียนรู้ชนิดพันธุ์ไม้ท้องถิ่น

กิจกรรม  ทำศูนย์เรียนรู้เกษตรกรน้อย

เชิงปริมาณ: สมาชิกกลุ่มเยาวชน  จำนวน  20  คนได้เรียนรู้ขั้นตอนการทำศูนย์เรียนรู้และได้ทำกิจกรรมที่มีประโยชน์ร่วมกัน

เชิงคุณภาพ: ได้ศูนย์เรียนรู้ที่มาจากการทำร่วมกันของเยาวชน  เพื่อใช้เป็นศูนย์เรียนรู้เกษตรกรน้อยในชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับชุมชน

สิ่งที่ กุสุมา คำพิมพ์ได้เรียนรู็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็็ํ๋็็็็็็็็็็็็็็้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้้- ชุมชนเห็นด้วยกับการทำกิจกรรมของกลุ่มเยาวชน  เพราะให้เหตุผลว่าเป็นกิจกรรมที่ดีและเป็นชุมชนประโยชน์ต่อชุมชนและตัวเยาวชนเอง  แต่ก็ยังไม่สามารถเข้ามาร่วมกิจกรรมได้เนื่องจากในส่วนของเองก็มีกิจกรรมที่ต้องทำเยอะอยู่แล้ว

"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ