กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
โครงการยุววิจัย
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

      เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ใช้ปัญหาเป็นเครื่องมือในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย เน้นการให้ผู้เรียนเผชิญสถานการณ์ปัญหาจริง หรือสภาพการณ์ให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา วิธีการเรียนรู้ที่เริ่มต้นด้วยการใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ จากแหล่งวิทยาการที่หลากหลายเพื่อนำมาใช้ในการแก้ปัญหา


การสอนที่ให้นักเรียนได้ผ่านการเรียนรู้ต่างๆอย่างครบถ้วน 3 ประการ คือ


1. Problem-based Leaning คือ ขบวนการเรียนรู้ที่นักเรียนใช้ “ปัญหา” เป็นหลักในการแสวงหาความรู้ด้วยกลวิธีหาข้อมูลเพื่อพิสูจน์สมมติฐานอันเป็นการแก้ปัญหานั้น โดยผู้เรียนจะต้องนำปัญหาเชื่อมโยงกับความรู้เดิม ความคิดที่มีเหตุผลและมีการแสวงหาความรู้ใหม่

­

2. Self-directed Learning คือ ขบวนการเรียนรู้ ที่ให้ผู้เรียนมีเสรีภาพในการใช้ความรู้ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยผู้เรียนจะต้องรับผิดชอบทั้งในด้าน
การกำหนดการดำเนินงานของตนเอง และการประเมินผลของตนเอง ตลอดจนการวิพากษ์วิจารณ์งานของตนเองด้วย

­

3. Small-group Learning คือ การเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย เป็นวิธีการที่ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นเป็นทีม และยอมรับประโยชน์ของการทำงานร่วมกันค้นคว้าหาแนวความคิดใหม่ๆ

­

­

นักเรียนฝึกประเมินสถานการณ์ (Situation Assessment)

­

กำหนดการและรายงานผล
ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลกิจกรรม/บันทึกการทำงาน

18/10/55

ผลการดำเนิงาน โครงการยุววิจัย สรุปได้ดังนี้

­

1. ได้ผลลงานวิจัยจากนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 40 เรื่อง

2. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการทำวิจัยเพื่อศึกษาหาความรู้และข้อเท็จจริงโดยใช้กระบวนการวิจัย

3. นักเรียนสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดในการดำเนินงานวิจัยได้อย่างเหมาะสม

4. ผลงานวิจัยหลายเรื่องมีประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน

­

เวลา

รายละเอียด

ดาวน์โหลด

8.30 น.

กล่าวต้อนรับ และพิธีเปิด                     

9.00 -12.00 น.           

กิจกรรมภาคเช้า  

PPTX

13.00-17.00 น.

กิจกรรมภาคบ่าย


­

"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ