โครงการการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในชุมชนบ้านทะเลนอกเพื่อนำไปสู่การจัดการพลังงานทางเลือกของชุมชนในอนาคต (phase 1)
โครงการการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในชุมชนบ้านทะเลนอกเพื่อนำไปสู่การจัดการพลังงานทางเลือกของชุมชนในอนาคต (phase 1)
กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
ศึกษาดูงานกระบวนการผลิตก๊าชชีวภาพและการบริหารจัดการชุมชน วันที่ 2-5 กันยายน 2556 สถานที่ จังหวัดกาญจนบุรี – ระยอง
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาดูงานกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการบริหารจัดการชุมชนที่ศูนย์กสิกรรมท่ามะขาม เรื่อง เรียนรู้กระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์  จ. กาญจนบุรี  วันที่ 3 กรกฎาคม 2556

­

กำหนดการและรายงานผล
ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลกิจกรรม/บันทึกการทำงาน

วิทยากรประจำศูนย์ นายปิยะ พวงสำลี ได้พาทีมวิจัยไปที่ทางศูนย์จัดไว้และได้ทำความเข้าใจในเรื่องการหมักก๊าซชีวภาพ วิทยากรอธิบายให้ฟังว่าใบโอแก๊สเป็นขบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ (เช่น ข้าวที่เหลือตั้งทิ้งไว้เป็นยาง เปรี้ยว)วิทยากรได้วิธีการคำนวณแก๊สมี 2 วิธี 1. ใช้แก๊สเป็นตัวตั้ง 2. วัตถุดิบเป็นตัวตั้งบ้านแต่ละหลังจะใช้แก๊สมีแทน 1.5 ลูกบาตรเมตร ใบโอแก๊สจะหมัก 40 วัน วันแรกที่ใส่จุรินทรีจะทำงานเลยส่วนการใส่มูลต้องใส่ให้ได้ 40 วันวิทยากรได้อธิบายว่ามูลสัตว์ 1 กิโลกรัม ได้แก๊ส 40 ลิตร ถ้าต้องการแก๊ส 1,500 ÷ 40 ได้จำนวนกิโลกรัม37.5 กิโลกรัม ถ้าต้องการแก๊ส = 37.5 × 40 วัน = 1,500 ลิตร ( 1 กก. )วิธีการหมัก วิทยากรแนะนำให้ 3 วิธี 1. ถุงดำพลาสติก 2. แบบวงปูน 3 แบบโอ่ง แต่ที่แนะนำให้ มี 2 วิธี เพราะวิธีที่ 1การใช้งานได้แค่ 2-3 ปีเท่านั้นวิทยากรบอกว่าอายุการใช้งานจะสั้น วิทยากรได้คำนวณปริมาณของมูลวัวที่ใส่ให้ดูว่า มูลวัว 1 กิโลกรัม ได้แก๊ส 40 ลิตร ถ้าต้องการแก๊ส = 1,500 × 40 = วัน ถ้าต้องการแก๊ส = 1,500 ลิตร ให้นำ 37.5 × 40 วันจะได้เท่ากับ 1,500 ลิตร ให้เพิ่ม 20% กันผิดพลาด = 300 กก. ปริมาตรถังหมัก = 1,800 ลิตร ส่วนวิธีการทำแบบวงปูน วิทยากรอธิบายว่าวิธีการทำวงปูนขุดหลุมใส่วงปูนลงไป 4 วงให้เหลือไว้ใส่ท่อ พีวีซี ใส่ครึ่งหนึ่งเจาะรู ตัวใส่ให้สูงนิดหนึ่งจะช่วยลดแก๊สไข่เน่า) ส่วนการใส่เศษอาหารจะได้พลังงานเยอะกว่ามูลสัตว์การทำแบบใส่วงปูนการวิทยากรบอกว่าการใส่อาหารให้ใส่เป็นเวลา ใส่ตามที่ คำนวณการดูแล เหมือนคนส่วนการออกแบบให้พอดีกับครอบครัวให้ สะดวกวางระบบการใส่เศษอาหาร(วันละไม่เกิน) ตามที่คำนวณวิธี การหมักแบบโอ่ง แรงดันแก๊สจะเยอะให้ขุดหลุมฝังดินนิดหนึ่ง เพื่อช่วยฐานรากวิทยากร ได้อธิบายให้ฟังว่าสถานะของแก๊ส แอลพีจี ชั่งได้ เป็นน้ำการชั่งเป็น กก.เป็นของเหลวส่วนใบโอแก๊สชั่งไม่ได้ไม่มีน้ำหนักใช้วิธีเทียบค่าความร้อนใบโอ แก๊สสามารถทำเองได้ส่วนถังแก๊ส แอลพีจี แรงสิบ เท่าอากาศถ้าล้มให้ยกขึ้นก่อนค่อยปิดหัวถ้าแก๊สรั่วให้ปิดที่หัวใบโอแก๊สจะเบามาก 0.02 เท่าอากาศ  วิทยากรได้อธิบายให้ทีมวิจัยฟังและได้พาไปดูการหมักแบบใช้วงปูน และได้จุดให้ดูแก๊สที่ได้จากการหมักมูลสัตว์ จากวงปูน ทีมวิจัยบ้านทะเลนอกได้มอบของทีระลึกให้วิทยากรและทีมวิจัยทั้ง 2 โครงการได้ไปเคลียเอกสารการเงินทีศูนย์กสิกรรมท่ามะขามและได้เดินทาง ออกจากศูนย์กสิกรรมท่ามะขามเวลา 12.00 น.

"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ