กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
กิจกรรมที่ 6 ลงเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

เมื่อ วันที่ 20 ตุลาคม - 8 พฤศจิกายน 2555 กลุ่ม Beach for life โครงการ รู้ค่าและตระหนักถึงปัญหาหาดสงขลาของคนในท้องถิ่น ได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการกัดเซาะชายฝั่งของหาดสงขลาตั้งแต่บริเวณชุมชนบ้าน เก้าเส้งจนถึงหาดสมิหลา เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการกัดเซาะชายฝั่งของหาดสงขลา

­

วัตถุประสงค์


  1.  เพื่อเก็บข้อมูลเรื่อง ความรู้ ความเข้าใจ และการตระหนักถึงคุณค่าของหาดสงขลาต่อคนสงขลา

  2.  เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในเผยแพร่สื่อและการกระจายข้อมูลข่าวสารต่างๆในแต่ละพื้นที่

­

กำหนดการและรายงานผล
ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลกิจกรรม/บันทึกการทำงาน
  1. การลงพื้นที่เก็บข้อมูล

จากกิจกรรมที่ 6 ซึ่งได้วางแผนพื้นที่ในแต่ละโซนและจำนวนแบบประเมินที่ใช้แล้ว ทางกลุ่ม  Beach For life ก็จะให้เยาวชนฝ่ายวิจัยฯ แบ่งพื้นที่รับผิดชอบในการลงเก็บข้อมูล ดังตาราง

 

­

พื้นที่เก็บข้อมูล (A)

จำนวนชุดแบบประเมิน (N)

ผู้รับผิดชอบ

 

  A1 (ชุมชนบ้านเก้าเส้ง)

 

150

  1. เด็กชายฟาอิศ จินเดหวา
  2. เด็กชายภูมิเทพ พูลภักดี
  3. นายถีรนันท์ หม้อห้อง
  4. นางสาวอริสา บินดุส๊ะ

 

  A2 (หาดชลาทัศน์ บริเวณ หน้าฐานทัพเรือ – มทร.)

 

200

  1. นายอณากร สีดำ
  2. นายกิตติศักดิ์  สุวรรณกาน
  3. เด็กชายพีระพัฒน์  พรมสู

 

  A3 (หาดสมิหลา)

 

200

  1. นายอภิศักดิ์ ทัศนี
  2. เด็กชายปัยณทัต ขำพิทักษ์
  3. นายพรรณวุฒิ รัตนกาจญจน์
  4. นางสาวพนิดา สุกเอียด

 

  A4 (โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา)

 

150

  1. นายณรงศักดิ์ ทองร้อยชั่ง
  2. นางสาวศสินันท์ ศรีปานแก้ว
  3. นายวิภูสิทธ์ จันทร์ทอง
  4. นายพุฒิพงศ์ เพชรรัตน์

รวม

700  ชุด

16  คน

 

­

  ซึ่งเวลาว่างหลังจากเลิกเรียนในวันพฤหัสบดีและเย็นวันอาทิตย์ ในการลงเก็บข้อมูลพร้อมกันทั้ง 3 พื้นที่ ในส่วนของโรงเรียนมหาวชิราวุธ จะให้ถอยทำเรื่อยๆจนครบกำหนด และต้องเก็บข้อมูลแล้วเสร็จก่อนวันที่ 5 พฤศจิกายน 2555

 

ภาพกิจกรรม "ลงพื้นที่ประเมินองค์ความรู้เกี่ยวกับหาดทราย"

ทีมวิจัยองค์ความรู้เรื่องหาดทราย Beach For life

­

­

­

"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ