อรอุมา ชูแสง
โคชพัฒนาเยาวชน active citizen ในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ตำแหน่งที่ได้รับในโครงการต่างๆ
เจ้าหน้าที่โครงการ ใน Active Citizen สุราษฎร์ธานี ปี 1
ประวัติและผลงาน

รับชมวิดีทัศน์ "แนวคิดและกระบวนการพัฒนาเยาวชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี" :


ความเชี่ยวชาญ/เทคนิคเด่นในการสร้างการเรียนรู้ผ่าน PBL :

  1.  มีทักษะในสื่อสาร จัดรายการวิทยุชุมชน และเปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้มีพื้นที่สื่อสารประสบการณ์และความรู้ของโครงการสู่สาธารณะ 
  2. มีทักษะการตั้งคำถาม ชวนคิดวิเคราะห์ กระตุ้นคิด สร้างแรงบันดาลใจ และพาเยาวชนและมีเลี้ยงวางแผนในการดำเนินโครงการได้ 
  3. รู้จักเด็กสามารถติดตามและวิเคราะห์พัฒนาการของเยาวชนได้

­

บทบาทและความรับผิดชอบในโครงการ :

รับหน้าที่ผู้ประสานงานโครงการและหัวหน้าโครงการเยาวชน ActiveCitizen สุราษฎร์ธานี ทำหน้าที่บริหารจัดการโครงการร่วมกับทีมงานโหนด ดำเนินการประสานงานกลุ่มเยาวชนพี่เลี้ยงในการดำเนินโครงการ การนำเสนอบอกเล่าภาพรวมการทำงานและการสื่อสารสู่สังคมผ่านเวทีประชุม ผ่านสื่อรายการวิทยุ สื่อสารผ่านเพจเยาวชน ActiveCitizen สุราษฎร์ธานี การลงพื้นที่ติดตามการทำงานและวางแผนกิจกรรมร่วมกับเยาวชน การจัดเวทีประชุมและอบรมพัฒนาศักยภาพเยาวชน


ประวัติการศึกษา :

ระดับการศึกษาวุฒิที่ได้รับสถาบันการศึกษาปีความรู้/ทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการทำโครงการ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนพุนพินพิทยาคม

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

2546

-การเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนเพื่อนแนะแนว มีการลงพื้นที่ไปเรียนรู้สถานที่ต่างๆ เช่น การเรียนรู้ธรรมะจากสวนโมกขลาราม และการเรียนรู้ชุมชนในพื้นที่ต่างๆ เป็นต้น

ระดับปริญญาตรีสาขาการพัฒนาชุมชน

ศศ.บคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี2550- กรรมการชมรมอาสาพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี

- ผู้ช่วยอุปนายกฝ่ายชมรมนักศึกษาองค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎ สุราษฎร์ธานี

- ฝ่ายวิชาการ กิจกรรมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี

­

ประสบการณ์การทำงานพัฒนาเยาวชน/งานพัฒนาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง :

หน่วยงานชื่อโครงการ/กิจกรรมช่วงปีพ.ศ.บทบาทหน้าที่ลักษณะงานที่ทำ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนผ่านกระบวนการเรียนรู้ชุมชน

( เครือข่ายเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา)

2547-2550

คณะทำงาน

-การลงพื้นที่เก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น

-การทำMappingเครือข่ายภูมิปัญญา

-พัฒนาศักยภาพเยาวชน

-จัดทำรายงานการประชุม/รายงานโครงการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น โครงการศึกษาแนวทางและรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของเยาวชน กรณีศึกษากลุ่มยุวชนสร้างสรรค์จังหวัดสุราษฎร์ธานี

2550

หัวหน้าโครงการวิจัย -ดำเนินการให้โครงการบรรลุเป้าหมาย

-เก็บรวบรวมข้อมูลงานวิจัย

-ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับเยาวชน

-สรุปหลักสูตรการเรียนรู้บนฐานชุมชน

สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)พัฒนาศักยภาพเยาวชนผ่านกระบวนการเรียนรู้ชุมชน ระยะที่ 2

(เครือข่ายเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา)

2551-2553

คณะทำงานโครงการ-การพัฒนาศักยภาพเยาวชน ผ่านการอบรมการใช้เครื่องมือการทำงานชุมชน

-การจัดทำเอกสารการเงิน / รายงานโครงการ

สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)

พัฒนารูปแบบสถาบันการจัดการเรียนรู้ด้านเด็กและเยาวชนบนฐานชุมชน (เครือข่ายเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา)

2554-2557

คณะทำงานโครงการ-จัดทำรายงานการประชุม/รายงานโครงการ

สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)

ถอดบทเรียนการจัดการเรียนรู้ด้วยหลักคิดการจัดการศึกษาบนฐานชุมชนของสถาบันสืบสานภูมิปัญญากับสถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( เครือข่ายเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา)

2558-2559

คณะทำงานโครงการ-ถอดบทเรียนการจัดการเรียนรู้ด้วยหลักคิดการจัดการศึกษาบนฐานชุมชน ผ่านเวทีประชุม ระดมความคิดเห็น และแบบสอบถาม
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดสุราษฎร์ธานี (Fm 89.75MHz)คณะพัฒนาวิทยุรายการเวทีชาวบ้านและทีมนักจัดรายการเวทีชาวบ้าน ประเด็นเด็กและเยาวชน ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00 - 18.00 น

ร่วมกับสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย จังหวัดสุราษฎร์ธานี (Fm 89.75MHz)

2554-ปัจจุบันนักจัดรายการ-สื่อสารข้อมูลเรื่องราวการเรียรู้ของเยาวชนเพื่อสร้างพลังแรงบัลดาลใจในการเรียนรู้บนฐานชุมชนของเยาชน

-พัฒนาทักษะเยาวชนด้านการสื่อสารผ่านการจัดรายการวิทยุ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)ทีมสนับสนุนวิชาการ

“หน่วยจัดการร่วมกับ สสส. ระดับพื้นที่ (Node)” สำหรับโครงการสร้างเสริมสุขภาพขนาดเล็กในระดับชุมชน

)

2559-2561ทีมสนับสนุนวิชาการ

-ติดตามการทำงานของชุมชนที่เข้าร่วมโครงการประเด็นผักในชุมชน /ผักในโรงเรียน /ผู้สูงอายุ/การลดละเลิกบุหรี่โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เป็นต้น

-การให้คำแนะนำในการดำเนินโครงการ จุดอ่อน จุดแข็ง เครื่องมือในการทำงาน การร่วมวางแผนการทำงาน

-การดำเนินการถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)โครงการสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบในการจัดการความปลอดภัยทางถนนโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนภาคใต้ตอนบน กรณีศึกษา: จังหวัดระนอง และ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

2560-2563

ผู้ช่วยประสานงานโครงการฯ

-การเป็นพี่เลี้ยงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

-การดำเนินการถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบ

-สื่อสารความรู้/องค์ความรู้

-ประชุมวางแผนออกแบบการทำงาน

-จัดการเอกสารการเงิน/รายงาน

-สร้างความเข้าใจและความสำคัญของงานความปลอดภัยทางถนนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

-เก็บรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ผ่านการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องและอินเตอร์เน็ต

-ถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบ / โครงการเด่น

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น

-มูลนิธิสยาม กัมมาจล

โครงการศึกษารวบรวมข้อมูลสถานการณ์เด็กเยาวชนและองค์ความรู้ ในการทำงานด้านเด็กเยาวชนจากองค์กรภาคีทำงานด้านเด็กในจังหวัด เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยของกลุ่มเด็กเยาวชนในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี

2561-2562

หัวหน้าโครงการ-เก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้

-การพัฒนาข้อเสนอโครงการเยาวชนด้วยกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

-ลงพื้นที่ค้นหาพื้นที่ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

-จัดทำรายงานโครงการ

-การประสานทีมงานในการดำเนินโครงการ

-บริหารโครงการให้สำเร็จลุล่วง

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น

-มูลนิธิสยาม กัมมาจล

โครงการติดตามสนับสนุนการเรียนรู้งานวิจัยของกลุ่มเครือข่ายเยาวชน Active Citizen จังหวัดสุราษฎร์ธานี

2562-2563

หัวหน้าโครงการ-เก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้

-การพัฒนาข้อเสนอโครงการเยาวชนด้วยกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

-ลงพื้นที่ติดตามการทำงาน 10 กลุ่ม

-จัดทำรายงาน

-การประสานทีมงานในการดำเนินโครงการ

-สื่อสารประชาสัมพันธ์สิ่งดีๆที่เกิดขึ้นผ่านสื่อรายการวิทยุ และเพจ