Automata apparatus
Prawared Bowonphattharawadi

1. ชื่อผลงาน

ภาษาไทย เครื่องดูแลต้นอ่อนทานตะวัน

ภาษาอังกฤษ Automata Apparatus

2. ชื่อผู้พัฒนา

2.1 นาย ปวเรศ บวรภัทรวดี

กำลังศึกษาในระดับชั้น : ปริญญาตรี ปีที่ 3

สถาบันการศึกษาที่สังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่

2.2 นางสาว ปภิญญา ต้นติสา

กำลังศึกษาในระดับชั้น : ปริญญาตรี ปีที่ 3

สถาบันการศึกษาที่สังกัด : มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่

2.3 นาย อภินันท์ บุญทอง

กำลังศึกษาในระดับชั้น : ปริญญาตรี ปีที่ 3 (เทียบโอน)

สถาบันการศึกษาที่สังกัด : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

2.4 นาย อภิรักษ์ แสงเงินชัย

กำลังศึกษาในระดับชั้น : ปริญญาตรี ปีที่ 3 (เทียบโอน)

สถาบันการศึกษาที่สังกัด : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่

3. อาจารย์ที่ปรึกษา

นาย ประธาน คำจินะ

ตำแหน่งในสถาบันการศึกษา : พนักงานประจำมหาวิทยาลัยสายวิชาการ

สังกัด : ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3

สถาบันการศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

4. รายละเอียดผลงาน

ที่มาของผลงาน

เพื่อตอบโจทย์กลุ่มบุคคลที่ทำงานประจำและไม่มีเวลาดูแลต้นไม้จึงเป็นที่มาของผลงานเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ

ความสามารถ

- สามารถตั้งเวลารดน้ำต้นไม้ได้ผ่านตัวเครื่อง และ เว็บไซต์

- สามารถวัดความชื้นในดินได้ และ รดน้ำอัตโนมัติตามความชื้นที่ตรวจได้

- สามารถตรวจสอบควันไฟแล้วแจ้ง sms เตือนไปยังผู้ใช้งานได้

- สามารถบันทึกรายการเตือนความจำผ่านเว็บไซต์ได้

­5. แผนการพัฒนาต่อยอดผลงานจากเดิม และแผนการนำไปสู่ผู้ใช้

5.1 ให้ผู้ใช้งานสามารถปลูกต้นอ่อน ทานตะวัน ได้อย่างง่าย และ สะดวกสบาย

5.2 พัฒนาเครื่องให้สามารถใช้งานได้ในพื้นที่จำกัดเช่น หอพัก หรือคอนโด

5.3 พัฒนาให้บุคคลทั่วไปที่ชอบทานผักสลัด และ ผักตระกูลต้นอ่อนที่ปลอดสารพิษ

5.4 พัฒนาเครื่องที่ช่วยดูแลการเจริญเติบโตของต้นอ่อนทานตะวัน และ ผักตระกูลต้นอ่อน

5.5 พัฒนาเว็บไซต์ในการสั่งซื้อเมล็ดต้นอ่อน รายละเอียดของตัวเครื่อง วิธีการใช้งานและ บทความเกี่ยวกับต้นอ่อนทนตะวัน รวมถึงตระกูลต้นอ่อนอื่น ๆ ที่มีประโยชน์

5.6 พัฒนาระบบแจ้งเตือนในการปลูก เช่น กรณีน้ำหมด ถึงเวลาการเก็บเกี่ยว เป็นต้น

6. ความก้าวหน้าการพัฒนาผลงานต่อยอด

6.1 ผลความก้าวหน้า ระยะที่ 1 (มิถุนายน - กันยายน)

6.1.1 ผลความก้าวหน้า

- ประชุมและสรุปลักษณะของตัวเครื่องและเว็บไซต์เพื่อให้บริการผู้ใช้งาน

- เดินทางไปศึกษาการเพาะปลูกต้นอ่อนทานตะวันจากบ้านต้นอ่อนทานตะวัน จังหวัดลำพูน

- ทดลองปลูกต้นอ่อนทานตะวันจากวัสดุต่าง ๆ และ สรุปผลการปลูก

- ออกแบบตัวเครื่องให้เหมาะสมกับปลูกต้นอ่อนทานตะวัน

6.1.2 การพัฒนาสำเร็จตามแผนหรือไม่ อย่างไร

- ยังไม่รู้วิธีการเพาะปลูกต้นอ่อนทานตะวันได้อย่างแท้จริง จึงเดินทางไปศึกษาดูงานจากสถานที่ปลูกจริง

- ไม่สามารถระบุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกได้ เนื่องจากยังไม่ได้ลองปลูกด้วยตนเอง จึงทดลองปลูกต้นอ่อนทานตะวันด้วยวัสดุปลูกต่าง ๆ

6.2 ผลความก้าวหน้า ระยะที่ 2 (ตุลาคม - ธันวาคม)

6.2.1 ผลความก้าวหน้า

6.2.2 การพัฒนาสำเร็จตามแผนหรือไม่ อย่างไร

7. ช่องทางการติดต่อ

CMRU, RMUTL, ChiangMai Thailand

+66855495445, +66979499062

apiruk326@gmail.com, compilerexe@gmail.com

8. การเผยแพร่ผลงานผ่านสื่อสาธารณะ

ผ่านเว็บไซต์ - https://compilerexe.github.io