เวทีเรียนรู้ ครั้ง ที 3 “การบริหารจัดการโครงการชุมชน”
กิตติรัตน์ ปลื้มจิตร

ลำพูน เมืองเล็กสุดในภาคเหนือ แต่มีประวัติยาวนาน 1,300 ปี ได้ชื่อว่า ‘อาณาจักรหริภุญชัย’ บรรพบุรุษไทลื้อ พูดภาษายอง เป็นเมืองที่รำ่รวยด้วยภูมิปัญญา ศิลปะวัฒนธรรม

­

คนรุ่นใหม่เกิดมาในยุคที่ลำพูน เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม “วิถีชีวิตท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้สำนึกคนจะเปลี่ยนไปเช่นไร”

­

“เห็นคุณค่า ปั๋นต่า หน้าหมู่” คือแนวคิดสร้างพื้นที่ให้คนลำพูนที่เอาธุระกับสังคมมาร่วมขับเคลื่อนพัฒนาเมืองลำพูน จะเกิดอะไรขึ้นถ้า “มันสมองของคนรุ่นเก่า กับคนรุ่นใหม่” หลอมรวมกันปลุกพลังขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองลำพูน

­

คำถามสำคัญคือ...กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของพวกเขาควรเป็นอย่างไร???

­

­

โครงการผลิตฝ้ายและย้อมสีธรรมชาติ

­

โครงการสืนสานนาฎลีลากลองปูจาชุมชน

โครงการสืบสานก๋ายลายสะบัดชัยล้านนา

โครงการสืบสานผักพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง

โครงการสืบสานภูมิปัญานิทานซอ_บ้านแม่สะแงะ

โครงการอนุรักษ์และสืบสานดนตรีพื้นเมือง

­

­

“คืน จินตนาการ ความฝัน ความหวัง” ให้กับคนรุ่นใหม่

จากโจทย์
1)ทำไมเราจึงเลือกทำโครงการนี้ (ภาพก่อนทำ)
2) ความสำเร็จที่อยากเห็นคืออะไร (ภาพความสำเร็จที่อยากเห็น)

ยะเยอะแยะแยกแยะนะจ๊ะ

­

เยาวชนดีวิถีพุทธ

­

อนุรักษ์ป่าชุมชนบ้านสันคะยอม

­

สืบสานก๋ายลายสะบัดชัยล้านนา

­

ลดปัญหาขยะในหมู่บ้าน

­

ผักสวนครัวในรั้วบ้าน

­

การผลิตฝ้ายและย้อมสีธรรมชาติ

­

­

­